บทวิจารณ์จากทั่วโลก: ในการแก้ปัญหาวิกฤติ opioid ให้ใช้แนวทางการลดอันตรายการจากใช้ยาฯ

News

บทวิจารณ์จากทั่วโลก: ในการแก้ปัญหาวิกฤติ opioid ให้ใช้แนวทางการลดอันตรายการจากใช้ยาฯ

11 November 2017

การระบาดของสาร opioid ในประเทศแคนาดาไม่ได้มีการลดจำนวนลงแต่อย่างใดและปัญหาที่เห็นได้ชัดคือการยึดติดกับการบังคับใช้กฎหมาย

ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาตำรวจเริ่มตั้งข้อหาฆาตรกรรมกับการจำหน่ายยาเสพติดเนื่องจากกล่าวหาว่ามีผู้เสียชีวิตจากยา fentanyl และสารสังเคราะห์ที่เป็นอันตรายอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก

มาตรการนี้ได้ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายที่ จังหวัด อัลเบอร์ต้าและออนตาริโอ โดยผู้พิพากษา
ทนายความและตำรวจเห็นความจำเป็นที่จะต้องกระทำโดยเด็ดขาดในยามเผชิญหน้ากับวิกฤตที่จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่า 3,000 ชีวิตในปีนี้

เข้าใจได้ถึงการรับมือในแนวทางนี้กับประเด็นยาฯ แต่อย่างไรก็ดีนี่ไม่ใช่วิธีการที่เป็นผลเลย
การเพิ่มบทลงโทษเห็นได้อย่างชัดเจนว่าไม่ได้ผล - โดยมีหลักฐานสนับสนุนจากการวิจัย ข้อสรุปหนึ่งของการค้นพบโดยผู้เชี่ยวชาญที่มหาวิทยาลัยโตรอนโตในปี 2014 สรุปได้ว่า "การเพิ่มโทษไม่ได้ทำให้คดีอาชญากรรมลดน้อยลงแต่อย่างใด"

ในทางกลับกันกลยุทธ์การลดอันตรายเช่นการออกข้อบังคับให้การใช้ยาฯถูกกฎหมาย และมีการอนุญาตให้ใช้สารทดแทนยาเสพติด (หรือใบสั่งยา) และการฉีดยาภายใต้การดูแลได้พิสูจน์ให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการจัดการประเด็นยาได้อย่างเป็นผลในสถานที่ต่างๆเช่นโปรตุเกสและสวิสเซอร์แลนด์

สมัครสมาชิก แจ้งข่าวIDPC ทุกเดือน เพื่อรับข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายยาเสพติด

กรุณาดูด้านล่างสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเป็นภาษาอังกฤษ

Canada's opioid epidemic shows no signs of abating, and a sense of urgency is clearly gripping law enforcement.

In recent months, police have begun laying manslaughter charges against drug dealers for allegedly selling fatal doses of fentanyl and other dangerous synthetic opiates.

It's happened in Alberta and Ontario, and is forecast to become more common. The prosecutions are a signal that Crown attorneys and police see the need to act purposefully in the face of a crisis that will cost more than 3,000 lives this year.

But while the impulse is understandable, it doesn't equate to being the best response.

Stiff trafficking penalties already exist and clearly aren't working – an outcome supported by research. One summary of the findings by experts at the University of Toronto in 2014 concluded that "crime is not deterred, generally, by harsher sentences."

In contrast, harm-reduction strategies such as legalization, opiate substitution (or prescription) and supervised injection have proven their effectiveness in places like Portugal and Switzerland.

Click here to read the full article.